วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

รายชื่อสมาชิกในห้อง

อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค    อาจารย์ผู้สอน
นางสาวมาซีเต๊าะ    หมิดเส็น    เต๊าะ
นางสาวยุวดี   โต๊ะเหล็ม    น้ำหวาน
นางสาวเพ็ญวิสา    แก้วชูเชิด    เพ็ญ
นางสาวหัสนี     หมาดหมีน     กะเต๋า
นายจักรพันธ์     พรหมเอียด     จักร
นางสาวอุไซมะห์     สาเลง     มา
นางสาวปิยะนุช   โพธิ์ถึง       นุช 
นางสาวโศจิรัตน์     ตุ้ยนะ     แป้ง  
นางสาวปวีณา   เคี่ยมขาว   แนน
นางสาวเกษศิรินทร์     ปิ่นทองพันธ์    อ้อม
นางสาวสุนิษา   หนูวงษ์     กวาง

วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีการสื่อสาร

การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication)
การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สายประเภทหนึ่งที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อการสื่อสารระยะทางไกลและครอบคลุมพื้นที่กว้าง เช่น ส่งสัญญาณจากฟากหนึ่งไปยังอีกฟากหนึ่งของโลก ก่อให้เกิดการสื่อสารได้อย่างกว้างไกลไร้ขอบเขต แม้ในเขตพื้นที่ห่างไกล เช่น บริเวณหุบเขา มหาสมุทร โดยอาจเป็นสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณภาพ เสียง และการเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ เป็นต้น
ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมประกอบไปด้วยสองส่วนหลัก คือ สถานีภาคพื้นดิน (Ground Segment) และสถานีอวกาศ (Space Segment) โดยที่สถานี ภาคพื้นดินประกอบด้วยสองสถานีคือ สถานีรับและสถานีส่ง ซึ่งการทำงานของทั้งสองสถานีนี้มีลักษณะคล้ายกัน
สถานีภาคพื้นดิน มีอุปกรณ์หลักอยู่ 4 ชนิดดังรายละเอียดต่อไปนี้
อุปกรณ์จานสายอากาศ (Antenna Subsystem)
มีหน้าที่ส่งสัญญาณและรับสัญญาณจากดาวเทียม
อุปกรณ์สัญญาณวิทยุ (Radio Frequency Subsystem)
มีหน้าที่รับส่งสัญญาณวิทยุที่ใช้งาน
อุปกรณ์แปลงสัญญาณวิทยุ (RF/IF Subsystem)
ประกอบด้วยสถานีส่งสัญญาณและสถานีรับสัญญาณ โดยด้านสถานีส่งถูกเรียกว่า ภาคแปลงสัญญาณขาขึ้น (Up Converter Part) ซึ่งทำหน้าที่แปลงย่านความถี่ที่ได้รับมาให้เป็นความถี่ที่ใช้กับงานระบบดาวเทียม จากนั้นส่งสัญญาณที่แปลงความถี่ให้ภาคขยายสัญญาณ เพื่อขยายให้เป็นสัญญาณความถี่สูง หลังจากนั้นนำส่งไปยังดาวเทียม และเช่นเดียวกันสำหรับด้านสถานีรับนั้นเรียกว่า ภาคแปลงสัญญาณขาลง (Down Converter Part) ทำหน้าที่คือแปลงสัญญาณที่ได้รับจากดาวเทียมไปเป็นความถี่ที่ใช้งาน จากนั้นส่งต่อให้ภาคแยกสัญญาณ (Demodulator) ต่อไป
 อุปกรณ์ผสมสัญญาณและแยกสัญญาณ (Modulator/Demodulator)
มีหน้าที่แปลงข้อมูลที่ต้องการส่งผ่านดาวเทียมให้เป็นสัญญาณคลื่นวิทยุที่มีข้อมูลผสมอยู่ให้นำไปใช้งานได้

ระบบการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมนั้น มี 2 แบบ
แบบ C - Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกอยู่ในช่วงความถี่ 3.4 - 4.2 GHz ซึ่งจะมีฟุตปริ้นท์ ที่มีขนาดกว้าง ครอบคลุมพื้นที่ การให้บริการได้หลายประเทศ เช่น ของดาวเทียมไทยคม 2/5 พื้นที่ให้บริการ คือทวีปเอเชีย และยุโรปบางส่วน (สมนึก ธัญญา วินิชกุล, 2549 : 10)
ข้อดี : การใช้ดาวเทียมระบบนี้เหมาะที่จะใช้ในประเทศใหญ่ๆ เพราะครอบคลุมพื้นที่การให้บริการได้หลายประเทศ ซึ่งใช้ดาวเทียมหนึ่งดวง ก็ถ่ายทอดสัญญาณได้ ทั่วประเทศและยังถึงประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงด้วย เช่น จีน, อินโดนีเซีย, เวียดนาม เป็นต้น
ข้อเสีย : เนื่องจากส่งครอบคลุมพื้นที่กว้างๆ ความเข็มของสัญญาณจะต่ำ จึงต้อง ใช้จาน 4 - 10 ฟุต ขนาดใหญ่รับสัญญาณภาพจึงจะคมชัด
แบบ KU - Band จะส่งคลื่นความถี่ 10 - 12 GHz สูงกว่าความถี่ C-Band สัญญาณ ที่ส่งจะครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย จึงเหมาะสำหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ (สมนึก ธัญญาวินิชกุล, 2549 : 11)
ข้อดี : ความเข้มของสัญญาณสูงมาก ใช้จานขนาเล็กๆ 60 - 120 เซนติเมตร ก็สามารถรับสัญญาณได้แล้ว เหมาะสำหรับส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ เช่น สัญญาณ CABLE TV (UBC)
ข้อเสีย : ฟุตปริ้นท์ระบบ KU-Band จะแคบ ส่งเฉพาะจุดที่ต้องการ ครอบคลุมพื้นที่ได้น้อยทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง ปัญหาในการรับสัญญาณภาพ เวลาเกิดฝนตกภาพจะไม่มี สาเหตุเนื่องมาจากความถี่ของ KU-Band จะสูงมากเมื่อผ่านเมฆฝน





วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ประวัติส่วนตัว

นางสาวสุกัญญา  มันทโร               ชื่อเล่น  ฮ๊ะ

ที่อยู่  86/4 หมู่ที่ 6  ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา  90120 

สีที่ชอบ  สีขาว  สีฟ้า  สีเขียว 

อาหารจานโปรด   ทุกๆอย่างๆที่ทานได้ฮิๆๆ

สัตว์ที่เลี้ยงที่ชอบ   แมวพันรัฐเซีย    นกแพนกวิน

ความสามารถ  ไม่มี   แต่พอได้

งานอดิเรก   ดูหนังฟังเพลง    (นอนกับกิน)

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม

รหัสนักศึกษา 5557051103

โทร 087-6247640


น่ารักจัง